วันอาทิตย์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2556

การเขียนเอกสารอ้างอิงที่ถูกต้อง


                                           การเขียนเอกสารอ้างอิง

ตัวอย่างการเขียนเอกสารอ้างอิง


1.Mackenna BR, Callander R. Illustrated physiology. 6th ed. New York : Churchill Livingstone, 1997.

2. สุภาพร สุกสีเหลือง. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ (Aquaculture). กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมการเกษตร, 2538.

3. Weinstein L, Swartz MN. Pathogenic properties of invading microorganisms. In : Sodeman WA Jr, Sodeman WA, editors. Pathologic physiology : mechnisms of Disease. Philadelphia : Saunders, 1974: 457-72.
4. สุพิศ จึงพาณิชย์. Oral cavity & teeth. ใน : วิญญู มิตรานันท์, บรรณาธิการ. พยาธิวิทยากายวิภาค. กรุงเทพ : โอเอสพรินติ้งเฮาส์, 2538: 659-78.
5. Ansvarsfall RY. Bloodtransfusion till fel patient. Vardfacket 1989; 13 : xxvi-xxvii.
6. รังสี อดุลยานุภาพ, มงคล เตชะกำพุ, ชัยณรงค์ โลหชิต. การกระตุ้นรังไข่ในลูกโคด้วยฮอร์โมน เอฟ เอส เอช ซ้ำหลายครั้ง. เวชชสารสัตวแพทย์ 2541; 28: 59-69.














รูปแบบ :-  ชื่อผู้แต่ง. ชื่อหนังสือ. ครั้งที่พิมพ์. เมืองที่พิมพ์: ผู้พิมพ์, ปีที่พิมพ์.

1. Mackenna BR, Callander R. Illustrated physiology. 6th ed. New York : Churchill Livingstone, 1997.

บทหนึ่งในหนังสือ (Chapter in a book)


วารสาร           

รูปแบบ :-   ชื่อผู้แต่ง. ชื่อบทความ. ชื่อย่อวารสาร ปีที่พิมพ์ ; ปีที่ของวารสาร (ฉบับที่) : หน้าที่ปรากฏบทความ.
1. Marks SL, Williams DA. Time course of gastrointestinal tract permeability to chromium 51-labeled ethylenediaminetetraacetate in healthy dogs. AJVR 1998; 59: 1113-5.





สรุป

     รายงานทางวิชาการเป็นผลจากการแสวงหาความรู้ตามขอบข่ายเนื้อหาสาระในรายวิชาต่างๆ ที่อาจารย์ผู้สอนมอบหมาย   เพื่อให้นักศึกษามีประสบการณ์ในการเรียนรู้ด้วยตนเองพร้อมไปกับการมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาสาระของรายวิชาเหล่านั้น  การทำรายงานทางวิชาการอย่างเป็นขั้นตอน โดยเริ่มจาก  1) กำหนดเรื่อง  2) สำรวจแหล่งข้อมูล เพื่อค้นหาข้อมูลเบื้องต้นมาเป็นแนวทางในการ  3) กำหนดโครงเรื่อง   4) การรวบรวมข้อมูลตามโครงเรื่อง  5) การอ่านวิเคราะห์และสังเคราะห์  แล้วจึงลงมือ 6) เขียนรายงาน  จะช่วยลดความยุ่งยากและช่วยให้การทำรายงานสำเร็จได้โดยง่าย รายงานทางวิชาการที่ดี  จะพิจารณากันที่  รูปเล่ม  เนื้อหา การเขียนอธิบายความชัดเจน  เข้าใจง่าย  มีการแสดงหลักฐานอ้างอิงและบรรณานุกรม ที่มาของข้อมูลอย่างละเอียดถี่ถ้วน ถูกต้องตามแบบแผน  

      ดังนั้น การประเมินคุณค่าของรายงานจึงพิจารณาที่ความสามารถในการคิดวิเคราะห์และการสังเคราะห์ความรู้ของผู้ทำรายงาน  รายงานที่ดีจะต้องแสดงเนื้อหาสาระข้อเท็จจริงอย่างถูกต้อง   แสดงความคิดหรือทัศนะของผู้เขียนอย่างมีเหตุผล และที่สำคัญอย่างยิ่งคือต้องเป็นผลงานที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษาเอง  ซึ่งมิใช่ผลงานที่คัดลอกจากผู้อื่น  



ขอขอบคุณข้อมูลจาก

http://www.unc.ac.th/lib/weblib/reference.html
http://www.thaigoodview.com/node/99177


วันที่สืบค้น 22 กันยายน พ.ศ. 2556



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น